กรดไหลย้อนโรคทรมานชีวิตประจำวัน - สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
กรดในกระเพาะอาหาร ปลายสุดของหลอดอาหารจะมีหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างอยู่ ถ้าหูรูดส่วนนี้ปิดไม่สนิทจะทำให้กรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นมาสู่หลอดอาหารและลำคอ เราสังเกตุได้จาก 7 อาการ. กรดในกระเพาะอาหาร ยาลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร วิธีการรับประทาน : รับประทานยาในปริมาณ 20 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 4–8 สัปดาห์ หากมีอาการรุนแรงให้รับประทานยา 40 มิลลิกรัม วันละ 1–2 ครั้ง ติดต่อกัน 8
กรดในกระเพาะอาหาร อาการของโรคกรดไหลย้อน · รู้สึกคล้ายว่ามีก้อนอยู่ในคอ หรือแน่นคอ · มีเสมหะอยู่ในลำคอ หรือระคายคอตลอดเวลา · เจ็บคอ แสบคอ แสบปาก แสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า · รู้สึกเหมือนมีรสขมของน้ำดี อาหารปลอดภัยเหมาะสำหรับโรคกรดไหลย้อน · ผลไม้ เช่น แอปเปิ้ลสด หรือแห้ง น้ำแอปเปิ้ล กล้วย · ผัก เช่น มันฝรั่งอบ ผักบรอคโคลี่ กะหล่ำปลี แครอต ถั่วเขียว ถั่วชนิดต่างๆ 1. กรดเกลือ ทําให้กระเพาะเป็นกรด. เหมาะแก่การทํางานของนํ้าย่อย,ช่วยทําให้. อาหารอ่อนตัว และ ช่วยดูดซึมธาตุเหล็ก. 2. เพปซิโนเจน เมื่อผสมกรด. เกลือจะกลายเป็นเพปซิน
กรดในกระเพาะอาหาร กะเพรา มีฤทธิ์ช่วยบรรเทาอาการกรดไหลย้อนได้ โดยให้นำกะเพรา 1 กำ มาต้มกับน้ำประมาณ 2-3 ลิตร ด้วยไฟปานกลาง 20 นาที ดื่มครั้งละ 1 แก้ว หลังอาหาร 3 มื้อ และควรดื่มหลังรับประทาน
กรดในกระเพาะอาหาร จริง ๆ แล้วความเครียดก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คุณแม่มีอาการกรดไหลย้อนคนท้อง เพราะเมื่อคุณแม่เครียดร่างกายก็จะกระตุ้นให้น้ำย่อยในกระเพาะอาหารหลั่งออกมามากขึ้นนั่นเอง